วันพุธที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

ความแตกต่างของคนในสังคม




ความหลากหลาย

ความแตกต่างของคนในสังคม


 1.สาเหตุของความแตกต่างทางสังคมและวัฒนธรรม1) ความหลากหลายทางด้านเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ และศาสนา
2) สภาพทางภูมิศาสตร์
3 ) รูปแบบทางเศรษฐกิจ

2. ความแตกต่างทางสังคมและวัฒนธรรมในภูมิภาคต่าง ๆ ในโลกปัจจุบัน
บริเวณวัฒนธรรมคือพื้นที่หนึ่ง ๆ ซึ่งมีวัฒนธรรมเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว

มี ระดับดังต่อไปนี้
1) เขตวัฒนธรรมของโลก เขตใหญ่ ได้แก่
1.1วัฒนธรรมของโลกตะวันตก ยึดถือเหตุผลและความคิดของบุคคล เป็นวัฒนธรรมของชาวยุโรป และสหรัฐ
1.2วัฒนธรรมของโลกตะวันออก ยึดถือประเพณี รักพวกด้อง เคารพผู้อาวุโส เป็นวัฒนธรรมของจีนและอินเดีย
2เขตวัฒนธรรมระดับประเทศ
3เขตวัฒนธรรมระดังท้องถิ่น
องค์ประกอบของวัฒนธรรม ในแต่ละเขตประกอบด้วยความเชื่อ ค่านิยม ศาสนา และ
เชื้อชาติ
ปัญหาที่เกิดจากความแตกต่างทางสังคมและวัฒนธรรม
1) ปัญหาด้านค่านิยม
2) ปัญหาด้านศาสนา เช่น ชาวฮินดูและชาวซิกก์ในอินเดีย มุสลิมและคริสต์ในเลบา
นอน
3) ปัญหาด้านความเชื่อ เช่น ความเชื่อทางการเมืองระหว่างค่ายเสรีประชาธิปไตยกับ
ค่ายคอมมิวนิสต์ ปัญหาความเชื่อของชาวยิวเรื่องดินแดนปาเลสไตน์
4) ปัญหาด้านเชื้อชาติ ได้แก่การไม่ยอมรับความแตกต่างของเชื้อชาติหรือดูถูกเชื้อชาติ
อื่น เช่น ในสหรัฐมีการสมาคมต่อต้านคนผิวดำ ที่เรียกว่า สมาคมดูลักศ์แคลน” ในเยอรมันมีการตั้งขบวนการนาซีใหม่ (นีโอนาซี) เพื่อต่อต่านชาวผิดเหลืองในเยอรมัน สงครามกลางเมืองในยูโกสลาเวีย ระหว่างมุสลิม เซิร์บ และโครแอต และสงครามระหว่างชาวทมิฬ และสิงหล ในศรีลังกา เป็นต้น
แนวทางการปรับตัวให้เข้ากับสังคมและวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
1) การเปิดใจกว้างยอมรับความแตกต่าง
2) การประสานความเข้าใจ ระหว่างประเทศ ทั้งนี้องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศที่
ช่วยเหลือส่งเสริมความเข้าใจอันดีทางสังคมและวัฒนธรรมระหว่างประเทศที่สำคัญ มีดังนี้
1) องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่ง UN (UNESCO)
2) องค์การเอกภาพแอฟริกา (OAU)
3) กลุ่มประชาคมยุโรป
4) กลุ่มอาเซียน
การพัฒนาคุณภาพประชากร
มนุษย์เป็นทรัพยากรที่มีค่าสูงสุดทั้งนี้เพราะมนุษย์เป็นผู้ผลิต เป็นผู้ใช้ และเป็นอนุรักษ์ทรัพยากรอื่น ๆ เพื่อผลประโยชน์ของมนุษย์เอง
คุณภาพของประชากร จะมีผลความสำคัญยิ่งต่อการพัฒนาประเทศทั้งในด้านเศรษฐกิจและการเมือง
สภาพของประชากรโลก
การเพิ่มขึ้นของประชากรโลก แบ่งออกได้เป็น ระยะ ดังนี้

1) ระยะที่ 1 อยู่ในช่วงก่อนการเกษตรกรรม มนุษย์มีภาวะการเจริญพันธุ์สูง
2) ระยะที่ 2 นับตั้งแต่ช่วงมนุษย์ประกอบอาชีพเกษตรได้จนถึงเริ่มการปฏิวัติอุตสาห
กรรม อัตราเพิ่มของประชากรเพิ่มขึ้นอย่างช้า ๆ และค่อย ๆ เพิ่มมากขึ้นทุกที อัตราการเกิดสูง อัตราการตายต่ำ เนื่องจากเทคโนโลยีการเกษตรผลิตอาหารได้มากขึ้น
3) ระยะที่ 3 เริ่มจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมจนถึงสงครามโลกครั้งที่ ลักษณะการ
เพิ่มของประชากรเป็นไปอย่างรวดเร็ว จากความสำเร็จในการปฏิรูปอุตสาหกรรมและความก้าวหน้าทางการแพทย์
4) ระยะที่ 4 เริ่มจากสงครามโลกครั้งที่ ถึงปัจจุบัน อัตราการเกิดยังคงสูง
ปัญหาประชากรโลกที่สำคัญในปัจจุบัน ได้แก่
อัตราการเพิ่มประชากรที่ไม่เหมาะสม (เป้าหมายของ UN ต้องการให้ลดอัตราการเพิ่มของประชากรโลกให้มีค่าเป็นศูนย์หรือใกล้เคียงกับศูนย์(ประมาณร้อยละ 0.2) ซึ่งเยอรมันตะวันออกทำได้สำเร็จชาติแรกของโลก และญี่ปุ่นประเทศแรกในเอเชีย
ผลกระทบจากการเพิ่มประชากร
1) ปัญหาขาดแคลนอาหารบริโภค
2) ปัญหาความเสื่อมโทรมของสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ
3) ปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองระหว่างประเทศ
4) ปัญหาเศรษฐกิจและสังคมอื่น ๆ
การพัฒนาคุณภาพของประชากรโลก
1) การพัฒนาด้านการศึกษา องค์การยูเนสโก รับผิดชอบ
2) การพัฒนาด้านสาธารณสุขและอนามัย องค์การอนามัยโลก (WHO) รับผิดชอบ
3) การพัฒนาคุณภาพของเยาวชน องค์การยูนิเซฟ (UNECEF) รับผิดชอบ
คุณภาพชีวิตของประชากร
หมายถึง ชีวิตที่มีความสมบูรณ์ทั้งร่างกายจิตใจและทักษะองค์การยูเนสโก กำหนดว่าคุณภาพชีวิตจะดีหรือไม่เพียงใดขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ 5ประการ ได้แก่
1) มาตรฐานการครองชีพ
2) พลวัตรของประชากร เกี่ยวกับโครงสร้างทางอายุ เพศ อัตราการเกิด อัตราการตาย
3) ปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม
4) กระบวนการพัฒนา

5) ทรัพยากร
แนวทางในการพัฒนาคุณภาพประชากร
แนวคิดและหลักการทั่ว ๆ ไปของการพัฒนาคุณภาพประชากร คือการพัฒนาทั้งทางด้านทักษะ ร่างกายและจิตใจ ตลอดจนสภาพแวดล้อม ซึ่งกระทำได้ดังต่อไปนี้

1) การให้การศึกษา
2) การให้บริการด้านการแพทย์และสาธารณสุข
3) การพัฒนาคุณภาพชีวิต
4) การเมีงานทำและมีรายได้
5) การลดจำนวนเพิ่มของประชากร
6) การบริหารทรัพยากรมนุษย์
การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชากรกับการพัฒนาประเทศไทย
โครงสร้างประชากรไทย
1) การเปลี่ยนแปลงจำนวนประชากร
จำนวนประชากรในประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงในด้านจำนวนเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ คาดว่า
ในปี พ.ศ. 2539 จะมีประชากรประมาณ 61 ล้านคน
การเปลี่ยนแปลงจำนวนประชากรขึ้นอยู่กับ อัตราการเกิด อัตราการตาย และอัตราการ
ย้ายถิ่น
2) โครงสร้างทางอายุ
2.1) อัตราการเกิดลดลง ทำให้ประชากรวัยเด็กลดลง จำนวนประชากรในวัยแรงงาน
และจำนวนประชากรสูงอายุจะมากขึ้น
2.2) อัตราการเกิดลดลง ทำให้ประชากรวันพึ่งพิงที่เป็นเด็ก (อายุไม่เกิน 15 ปี๗ ลด
ลง แต่จำนวนประชากรวัยพึ่งพิงที่เป็นผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) จะเพิ่มสูงขึ้น
2.3) สัดส่วนโครงสร้างอายุในปัจจุบัน วัยเด็กประมาณร้อยละ 40 วัยทำงาน ร้อยละ
55 และผู้สูงอายุมีประมาณร้อยละ ของจำนวนประชากรทั้งหมด
วัยเด็ก อายุ 0 – 14 ปี
วัยทำงาน อายุ 15 – 59 ปี
วันสูงอายุ อายุ 60 ปีขึ้นไป
3) ปัญหาและผลกระทบการพัฒนาคุณภาพประชากรที่มีต่อการพัฒนาประเทศไทย
ด้านการศึกษามีดังนี้
3.1) ปัญหาโครงสร้างของประชากรกับการจัดการศึกษา
3.2) ปัญหาด้านคุณภาพการศึกษา
3.3) ปัญหาความเสมอภาคทางการศึกษา
4) ปัญหาการจัดการศึกษา ไม่ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน
5) ปัญหาการจัดสรรทรัพยากรและบริหารการศึกษา
6) ด้านสุขภาพอนามัยมีดังนี้
6.1) ปัญหาด้านสาธารณสุข
6.2) ปัญหาเรื่องโภชนาการ
7) ด้านคุณธรรมและจริยธรรมมีดังนี้
7.1) เกิดความเคียดและความกดดันทางสังคม
7.2) ค่านิยมทางด้านวัตถุ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น